Translation Results Requested Through Conyac Made Public
[Translation from ไทย to Japanese ] เครื่องมือแปลภาษาบนโลกออนไลน์นั้นมีอยู่มากมาย ที่เรารู้จักกันดีก็เช่น Google ...
Original Texts
เครื่องมือแปลภาษาบนโลกออนไลน์นั้นมีอยู่มากมาย ที่เรารู้จักกันดีก็เช่น Google Translate, Bing Translator เป็นต้น ซึ่งกลุ่มเหล่านี้ใช้ โปรแกรมในการช่วยแปล และเมื่่อไม่นานมานี้ผู้เขียนได้รับคำแนะนำจากเพื่อนชาวญี่ปุ่นให้ลองใช้บริการที่นำแนวคิดของพลังมวลชน หรือ Crowd Sourcing มาช่วยในการแปลภาษา (ใช้คนไม่ได้ใช้ bot) โดยบริการนี้มีชื่อว่า conyac เน้นงานแปลประเภทที่สื่อสารกันสั้นๆ เป็นครั้งๆ ไป เช่น การติดต่อเพื่อซื้อขายของ, การส่งอีเมล เป็นต้น ฟังดูแล้วน่าสนใจไม่น้อย เลยถือโอกาสไปสัมภาษณ์เจ้าของบริกานี้ Tomohiro Onuma จาก anydooR Inc.
thumbsup: ได้ไอเดียนี้มาจากไหน
Tomo: Conyac เป็นบริการแปลภาษาครับโดยอาศัย Crowd Sourcing คือให้ผู้ใช้เข้ามาร่วมช่วยกันแปล ไอเดียนี้มาจากประสบการณ์โดยตรงที่ผมพบเจอเองหน่ะครับ โดยปกติแล้วใครๆ ก็อยากได้ผลของการแปลที่รวดเร็ว ราคาที่เหมาะสม พร้อมกับงานที่มีคุณภาพ ดังนั้นการนำ Crowd Sourcing มาใช้จึงเป็น สิ่งที่ช่วยตอบโจทย์ตรงนี้ได้ thumbsup: กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่มาจากประเทศไหน
Tomo: นอกเหนือจากญี่ปุ่นแล้ว ลูกค้าของเราก็มีมาจากสหรัฐอเมริกา และจีน ครับ
thumbsup: ตอนนี้มีผู้แปล และลูกค้ากี่รายแล้ว และเป็นประเทศอะไรบ้าง
Tomo: ตอนนี้เรามีผู้แปลกว่า 7,000 รายและมีผู้ใช้บริการ 5,000 กว่ารายในระบบของเรา โดยแบ่งออกเป็น
ญี่ปุ่น 45%
จีน (รวมฮ่องกงและไต้หวัน) 18%
อินโดนีเซีย 15%
ไทย 10%
สิงคโปร์ 2%
อื่นๆ 10%
thumbsup: โมเดลธุรกิจการหารายได้ของคุณเป็นอย่างไร
Tomo: อธิบายเป็นลำดับขั้นตอนดังนี้ครับ ลูกค้าเริ่มเข้ามาซื้อเครดิตก่อน และใช้เครดิตนั้นในการส่งคำขอในการแปลงาน ซึ่งคำขอดังกล่าวจะถูกโพสในหน้าของผู้แปล โดยจะมีผู้แปลเข้ามาเลือกงานไป งานไหนที่แปลเสร็จแล้วจะมีการส่งเมลไปแจ้งยังลูกค้าผู้ขอ หลังจากผู้แปลได้รับเงิน Conyac จะได้รับค่า commission จากงานนั้นๆ thumbsup: ปัจจุบันคุณทำการโปรโมตในต่างประเทศอย่างไรบ้าง
Tomohiro: เราอาศัยการโปรโมตผ่านทางสื่อออนไลน์ครับ ซึ่งเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ ทั้งการใช้ Facebook Ads, Google AdWords และ Social Media
thumbsup: ภาษาอะไรที่ได้รับความนิยมในการแปล
Tomohiro: ก็มี อังกฤษ <-> ญี่ปุ่น อังกฤษ <-> จีน อังกฤษ <-> อินโด ในขณะที่ อังกฤษ <-> ไทย ตอนนี้ก็เริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นครับ thumbsup: ตอนนี้มีคนไทยใช้บริการนี้แล้วกี่คน
Tomohiro: ตอนนี้มีคนไทยที่ลงทะเบียนกับระบบของเราถึง 130 รายแล้ว และแนวโน้มก็เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ด้วย
thumbsup: คุณควบคุมคุณภาพในการแปลอย่างไร
Tomohiro: สำหรับใครที่ต้องการจะเข้ามาเป็นผู้แปลต้องแสดงตัวตนด้วย Facebook Account เรามีการจัดทำระบบและให้ผู้ใช้ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของคนอื่นๆ ด้วยครับ
thumbsup: ปัจจุบันได้รับเงินทุนจากที่ไหนบ้าง
Tomohiro: เราได้รับเงินทุนจาก Samurai Incubate ครับ และตอนนี้ก็กำลังขอระดุมทุนเพิ่มด้วยเช่นเดียวกัน
thumbsup: ใครคือคู่แข่งของคุณ
Tomohiro: จริงๆ บางคนก็คิดว่าไม่อยากจะจ่าย ก็ใช้บริการฟรีอย่าง Google Translate แต่จริงๆ แล้วเราก็ไม่ได้มองเป็นคู่แข่งครับ เราพยายามที่จะแข่งกับตัวเองและทำบริการออกมาให้ดีที่สุดเพื่อลูกค้าของเรามากกว่า
thumbsup: อยากฝากคำแนะนำอะไรให้กับ Startup ไทยบ้าง
Tomohiro: ผมอยากเห็น Startup ไทยมาเปิดตลาดที่ญี่ปุ่นนะครับ ถ้ามีโอกาสน่าจะลองมาพูดคุยกันร่วมกันพัฒนาบริการกับทาง Conyac Conyac ถือเป็นหนึ่งบริการที่นำแนวคิดด้าน Crowd Sourcing มาใช้ได้อย่างดี การวางตัวเป็นแพลตฟอร์มและอาศัยการหารายได้จากผู้ใช้บริการนั้นเป็นเรื่องปกติที่พบเห็นได้ทั่วไป แต่หัวใจสำคัญที่จะทำให้ Conyac ยืนหยัดได้นาน คือ การรักษาคุณภาพของบริการเอาไว้ให้ดีที่สุด การมีระบบและกฏเกณฑ์ที่ชัดเจนจะช่วยให้ส่วนรวมช่วยกันตรวจสอบและพัฒนาให้บริการแห่งนี้เติบโตและน่าเชื่อถือต่อไป
ว่าแล้วจะไปลองใช้บริการนี้ดูเสียหน่อย แล้วคุณหล่ะ สนใจเป็นผู้แปล หรืออยากเป็นผู้ใช้บริการนี้ดูบ้าง?
thumbsup: ได้ไอเดียนี้มาจากไหน
Tomo: Conyac เป็นบริการแปลภาษาครับโดยอาศัย Crowd Sourcing คือให้ผู้ใช้เข้ามาร่วมช่วยกันแปล ไอเดียนี้มาจากประสบการณ์โดยตรงที่ผมพบเจอเองหน่ะครับ โดยปกติแล้วใครๆ ก็อยากได้ผลของการแปลที่รวดเร็ว ราคาที่เหมาะสม พร้อมกับงานที่มีคุณภาพ ดังนั้นการนำ Crowd Sourcing มาใช้จึงเป็น สิ่งที่ช่วยตอบโจทย์ตรงนี้ได้ thumbsup: กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่มาจากประเทศไหน
Tomo: นอกเหนือจากญี่ปุ่นแล้ว ลูกค้าของเราก็มีมาจากสหรัฐอเมริกา และจีน ครับ
thumbsup: ตอนนี้มีผู้แปล และลูกค้ากี่รายแล้ว และเป็นประเทศอะไรบ้าง
Tomo: ตอนนี้เรามีผู้แปลกว่า 7,000 รายและมีผู้ใช้บริการ 5,000 กว่ารายในระบบของเรา โดยแบ่งออกเป็น
ญี่ปุ่น 45%
จีน (รวมฮ่องกงและไต้หวัน) 18%
อินโดนีเซีย 15%
ไทย 10%
สิงคโปร์ 2%
อื่นๆ 10%
thumbsup: โมเดลธุรกิจการหารายได้ของคุณเป็นอย่างไร
Tomo: อธิบายเป็นลำดับขั้นตอนดังนี้ครับ ลูกค้าเริ่มเข้ามาซื้อเครดิตก่อน และใช้เครดิตนั้นในการส่งคำขอในการแปลงาน ซึ่งคำขอดังกล่าวจะถูกโพสในหน้าของผู้แปล โดยจะมีผู้แปลเข้ามาเลือกงานไป งานไหนที่แปลเสร็จแล้วจะมีการส่งเมลไปแจ้งยังลูกค้าผู้ขอ หลังจากผู้แปลได้รับเงิน Conyac จะได้รับค่า commission จากงานนั้นๆ thumbsup: ปัจจุบันคุณทำการโปรโมตในต่างประเทศอย่างไรบ้าง
Tomohiro: เราอาศัยการโปรโมตผ่านทางสื่อออนไลน์ครับ ซึ่งเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ ทั้งการใช้ Facebook Ads, Google AdWords และ Social Media
thumbsup: ภาษาอะไรที่ได้รับความนิยมในการแปล
Tomohiro: ก็มี อังกฤษ <-> ญี่ปุ่น อังกฤษ <-> จีน อังกฤษ <-> อินโด ในขณะที่ อังกฤษ <-> ไทย ตอนนี้ก็เริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นครับ thumbsup: ตอนนี้มีคนไทยใช้บริการนี้แล้วกี่คน
Tomohiro: ตอนนี้มีคนไทยที่ลงทะเบียนกับระบบของเราถึง 130 รายแล้ว และแนวโน้มก็เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ด้วย
thumbsup: คุณควบคุมคุณภาพในการแปลอย่างไร
Tomohiro: สำหรับใครที่ต้องการจะเข้ามาเป็นผู้แปลต้องแสดงตัวตนด้วย Facebook Account เรามีการจัดทำระบบและให้ผู้ใช้ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของคนอื่นๆ ด้วยครับ
thumbsup: ปัจจุบันได้รับเงินทุนจากที่ไหนบ้าง
Tomohiro: เราได้รับเงินทุนจาก Samurai Incubate ครับ และตอนนี้ก็กำลังขอระดุมทุนเพิ่มด้วยเช่นเดียวกัน
thumbsup: ใครคือคู่แข่งของคุณ
Tomohiro: จริงๆ บางคนก็คิดว่าไม่อยากจะจ่าย ก็ใช้บริการฟรีอย่าง Google Translate แต่จริงๆ แล้วเราก็ไม่ได้มองเป็นคู่แข่งครับ เราพยายามที่จะแข่งกับตัวเองและทำบริการออกมาให้ดีที่สุดเพื่อลูกค้าของเรามากกว่า
thumbsup: อยากฝากคำแนะนำอะไรให้กับ Startup ไทยบ้าง
Tomohiro: ผมอยากเห็น Startup ไทยมาเปิดตลาดที่ญี่ปุ่นนะครับ ถ้ามีโอกาสน่าจะลองมาพูดคุยกันร่วมกันพัฒนาบริการกับทาง Conyac Conyac ถือเป็นหนึ่งบริการที่นำแนวคิดด้าน Crowd Sourcing มาใช้ได้อย่างดี การวางตัวเป็นแพลตฟอร์มและอาศัยการหารายได้จากผู้ใช้บริการนั้นเป็นเรื่องปกติที่พบเห็นได้ทั่วไป แต่หัวใจสำคัญที่จะทำให้ Conyac ยืนหยัดได้นาน คือ การรักษาคุณภาพของบริการเอาไว้ให้ดีที่สุด การมีระบบและกฏเกณฑ์ที่ชัดเจนจะช่วยให้ส่วนรวมช่วยกันตรวจสอบและพัฒนาให้บริการแห่งนี้เติบโตและน่าเชื่อถือต่อไป
ว่าแล้วจะไปลองใช้บริการนี้ดูเสียหน่อย แล้วคุณหล่ะ สนใจเป็นผู้แปล หรืออยากเป็นผู้ใช้บริการนี้ดูบ้าง?
Translated by
ryota
オンライン上に翻訳サービスはたくさんある。よく知られているものとして例えば翻訳を手助けするプログラムを使ったGoogle Translate, Bing Translator などがあげられる。最近、筆者は日本人の友人から不特定多数の知識の力つまりクラウドソーシングサービスを使った翻訳サービスを試してみてはどうかと教えてもらった(人を使うのである。botは使わない。)そのサービスの名はconyacといいちょっとした翻訳に特化しているサービスである。例えば買い物をするための連絡する、メールを送るなどである。この話を聞いて、筆者はとても興味を惹かれたのでサイト所有者であるanydooR lnc.のOnuma Tomohiro さんにインタビューを行った。
thumbsup: アイデアはどこから得たのでしょうか?
Tomo: conyacはクラウドソーシングつまり人々が助け合って翻訳をすることに頼った翻訳サービスです。アイデアは私が直面した直接の経験から得ました。普通は誰でも早くて、価格が適当で、同時に質のよい翻訳を求めます。ですのでクラウドソーシングを使うことはこの問題を解決してくれます。
Tomo: conyacはクラウドソーシングつまり人々が助け合って翻訳をすることに頼った翻訳サービスです。アイデアは私が直面した直接の経験から得ました。普通は誰でも早くて、価格が適当で、同時に質のよい翻訳を求めます。ですのでクラウドソーシングを使うことはこの問題を解決してくれます。
thumbsup: お客さんはどこの国からが多いのでしょうか?
Tomo: 日本以外にアメリカや中国のお客様がいます。
thumbsup: 現在翻訳家とお客は何人いますか?またどこの国からですか?
Tomo: 現在翻訳家は7000人サービス利用者は5000人以上います。国別に分けると
日本 45%
中国(香港と台湾を含む)18%
インドネシア !%
タイ 10%
シンガポール 2%
その他 10%
thumbsup: ビジネスの利益モデルどうなっているのですか?
Tomo: 順番に説明するとこのようになっております。お客様がクレジットを購入します。そしてクレジットを使って翻訳を依頼します。翻訳依頼は翻訳家の画面に投稿されます。そしたら翻訳家は依頼を選びます。翻訳が完了しましたら翻訳依頼者のかたにメールでお知らせします。その後翻訳家の方はコニャックポイントを受け取ることになります。それでcommissionを受け取ることができるというわけです。
Tomo: 日本以外にアメリカや中国のお客様がいます。
thumbsup: 現在翻訳家とお客は何人いますか?またどこの国からですか?
Tomo: 現在翻訳家は7000人サービス利用者は5000人以上います。国別に分けると
日本 45%
中国(香港と台湾を含む)18%
インドネシア !%
タイ 10%
シンガポール 2%
その他 10%
thumbsup: ビジネスの利益モデルどうなっているのですか?
Tomo: 順番に説明するとこのようになっております。お客様がクレジットを購入します。そしてクレジットを使って翻訳を依頼します。翻訳依頼は翻訳家の画面に投稿されます。そしたら翻訳家は依頼を選びます。翻訳が完了しましたら翻訳依頼者のかたにメールでお知らせします。その後翻訳家の方はコニャックポイントを受け取ることになります。それでcommissionを受け取ることができるというわけです。
thumbsup: 現在海外でプロモーションをどうやってやっていますか?
Tomohiro: 私はオンライン上でのプロモーションに頼っています。ですのでFacebook Ads, Google AdWords Social Media等を使うお客様にアクセスすることができます。
thumbsup: 翻訳される中でどんな言語が人気ですか?
Tomohiro: 英語 <-> 日本語、英語 <-> 中国語、英語 <-> インドネシアまた英語 <-> タイも現在人気が出てきています。
Tomohiro: 私はオンライン上でのプロモーションに頼っています。ですのでFacebook Ads, Google AdWords Social Media等を使うお客様にアクセスすることができます。
thumbsup: 翻訳される中でどんな言語が人気ですか?
Tomohiro: 英語 <-> 日本語、英語 <-> 中国語、英語 <-> インドネシアまた英語 <-> タイも現在人気が出てきています。
thumbsup: 現在タイ人のサービス利用者は何人ですか?
Tomohiro: 現在私のサービスに登録したタイ人は130人います。これからもどんどん増えていくでしょう。
thumbsup: 翻訳の質はどのように保っていくのでしょうか?
Tomohiro: 翻訳家に加わりたい人はfacebookで身分を証明しなければなりません。また利用者同士で他の利用者の翻訳の正しさをチェックする機能もサイトにはあります。
thumbsup: 資本はどこから集めたのでしょう。
Tomohiro: Samurai Incubateから集めました。現在も同じように集め続けています。
Tomohiro: 現在私のサービスに登録したタイ人は130人います。これからもどんどん増えていくでしょう。
thumbsup: 翻訳の質はどのように保っていくのでしょうか?
Tomohiro: 翻訳家に加わりたい人はfacebookで身分を証明しなければなりません。また利用者同士で他の利用者の翻訳の正しさをチェックする機能もサイトにはあります。
thumbsup: 資本はどこから集めたのでしょう。
Tomohiro: Samurai Incubateから集めました。現在も同じように集め続けています。
thumbsup: 競争相手は誰ですか?
Tomohiro: 本当のところお金を払いたくないという人もいます。そして無料のGoogle Translateなんかを使います。しかし本当は競争相手を見てません。私は自分と戦っていこうとしています。そしてお客様のために最大限よいサービスをつくっていきます。
thumbsup: Startup タイに何かアドバイスはありますか?
Tomohiro: 私はStartup タイが日本の市場にやってくるところを見たいです。もし機会があれば話し合い協力し合ってConyacと共に成長していきましょう。
Tomohiro: 本当のところお金を払いたくないという人もいます。そして無料のGoogle Translateなんかを使います。しかし本当は競争相手を見てません。私は自分と戦っていこうとしています。そしてお客様のために最大限よいサービスをつくっていきます。
thumbsup: Startup タイに何かアドバイスはありますか?
Tomohiro: 私はStartup タイが日本の市場にやってくるところを見たいです。もし機会があれば話し合い協力し合ってConyacと共に成長していきましょう。
Conyacはクラウドソーシングをうまく利用したサービスのうちの一つである。プラットフォームをおいてサービス利用者から利益をあげることはどこにでも見られることである。しかしConyacが長く進み続けられる秘訣はサービスの質を最大限保っていることである。はっきりした機能と制度が利用者同士でチェックさせることができ、サービスの拡大と信頼を向上させるのである。
さて、このサービスを使ってみてください。あなたはどう思うだろうか?翻訳家になりたいだろうか?それともサービス利用者になりたいだろうか?
さて、このサービスを使ってみてください。あなたはどう思うだろうか?翻訳家になりたいだろうか?それともサービス利用者になりたいだろうか?
Result of Translation in Conyac
- Number of Characters of Requests:
- 3267letters
- Translation Language
- ไทย → Japanese
- Translation Fee
- $73.515
- Translation Time
- about 6 hours
Freelancer
ryota
Starter